หน้าหลัก
รู้จัก ม.ส.ท.
ภาพรวม ม.ส.ท.
วิสัยทัศน์ | พันธกิจ
โครงสร้างองค์กร
คณะกรรมการมูลนิธิ
คณะกรรมการบริหารสถาบัน
คณะผู้บริหาร
เจ้าหน้าที่
วิถีเรา
สโลแกน
รายงานประจำปี | รายงานงบการเงิน
สำนักงานสีเขียว
รางวัลและเกียรติประวัติ
กองทุน
กองทุน ดร.ธีระ พันธุมวนิช
กองทุนสุขภาพกับสภาวะโลกร้อน
รู้จัก ม.ส.ท.
วิสัยทัศน์ | พันธกิจ
โครงสร้างองค์กร
คณะกรรมการมูลนิธิ
คณะกรรมการบริหารสถาบัน
คณะผู้บริหาร
เจ้าหน้าที่
วิถีเรา
สโลแกน
รายงานประจำปี | รายงานงบการเงิน
สำนักงานสีเขียว
รางวัลและเกียรติประวัติ
กองทุน
กองทุน ดร.ธีระ พันธุมวนิช
กองทุนสุขภาพกับสภาวะโลกร้อน
งานของเรา
กลุ่มงานของเรา
สิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม
อุตสาหกรรมยั่งยืน
มลพิษอุตสาหกรรม
สิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชน
ชุมชนและเมืองน่าอยู่
ขยะชุมชน-ขยะอาหาร
ขยะพลาสติก
ฝุ่น PM2.5
การผลิตและการบริโภคยั่งยืน
ฉลากเขียว
ฉลากสิ่งแวดล้อม
บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ที่ปรึกษาคาร์บอนฟุตพริ้นท์
จัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรทางบก
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
ความหลากหลายทางชีวภาพ
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
การลดก๊าซเรือนกระจก
การปรับตัว
การพัฒนาบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อม
งานฝึกอบรม
สิ่งแวดล้อมศึกษา
นโยบาย แผน เครือข่ายสิ่งแวดล้อม
นโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม
TBCSD
งานของเรา
สิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม
อุตสาหกรรมยั่งยืน
มลพิษอุตสาหกรรม
สิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชน
ชุมชนและเมืองน่าอยู่
ขยะชุมชน-ขยะอาหาร
ขยะพลาสติก
ฝุ่น PM2.5
การผลิตและการบริโภคยั่งยืน
ฉลากเขียว
ฉลากสิ่งแวดล้อม
บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ที่ปรึกษาคาร์บอนฟุตพริ้นท์
จัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรทางบก
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
ความหลากหลายทางชีวภาพ
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
การลดก๊าซเรือนกระจก
การปรับตัว
การพัฒนาบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อม
งานฝึกอบรม
สิ่งแวดล้อมศึกษา
นโยบาย แผน เครือข่ายสิ่งแวดล้อม
นโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม
TBCSD
คลังความรู้
แหล่งรวมความรู้
บทความ
อินโฟกราฟิก | โปสเตอร์
คลิปวิดีโอ
เอกสารเผยแพร่
สิ่งพิมพ์จำหน่าย
คลังความรู้
บทความ
อินโฟกราฟิก | โปสเตอร์
คลิปวิดีโอ
เอกสารเผยแพร่
สิ่งพิมพ์จำหน่าย
กิจกรรมข่าวสาร
ข่าวสารความเคลื่อนไหว
กิจกรรมของเรา
ข่าวสิ่งแวดล้อม
กิจกรรมข่าวสาร
กิจกรรมของเรา
ข่าวสิ่งแวดล้อม
ร่วมงานกับเรา
ร่วมเป็นส่วนหนึ่งกับเรา
งาน
ฝึกงาน
ร่วมงานกับเรา
งาน
ฝึกงาน
ติดต่อเรา
งานของเรา
ชุมชนและเมืองน่าอยู่
ลงพื้นที่สำรวจและสัมภาษณ์เครือข่ายชุมชนและเกษตรกรเพื่อหาแนวทางในการลดการเผาผ่านการจัดการขยะและวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรอย่างยั่งยืนของชุมชนในจังหวัดมหาสารคามและจังหวัดขอนแก่น
กิจกรรม
...
ลงพื้นที่สำรวจและสัมภาษณ์เครือข่ายชุมชนและเกษตรกรเพื่อหาแนวทางในการลดการเผาผ่านการจัดการขยะและวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรอย่างยั่งยืนของชุมชนในจังหวัดมหาสารคามและจังหวัดขอนแก่น
7-11 สิงหาคม 2567 ที่ผ่านมา สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย โดยโครงการพัฒนาเครือข่ายชุมชนและเกษตรกรอาชีวศึกษาสู่การจัดการขยะและวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรอย่างยั่งยืน กรณีศึกษา: พื้นที่จังหวัดมหาสารคามและจังหวัดขอนแก่น นำโดย คุณสุทัสสา วงศ์ราช หัวหน้าโครงการและคณะวิจัย พร้อมด้วยคณะอาจารย์จากสถาบันเทคโนโลยีปทุมวันและสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร่วมลงพื้นที่สำรวจและสัมภาษณ์เครือข่ายชุมชนและเกษตรกรโครงการอาชีวศึกษาเพื่อพัฒนาชนบท (อศ.กช) ในชุมชนเป้าหมาย 5 ชุมชน โดยชุมชนในจังหวัดมหาสารคาม ได้แก่ ชุมชนบ้านแห่เหนือ ชุมชนบ้านหนองยาง และชุมชนบ้านน้ำใส รวมถึงชุมชนในจังหวัดขอนแก่น ได้แก่ ชุมชนบ้านหนองไฮ และชุมชนบ้านคำแคนใต้
ในการสัมภาษณ์เครือข่ายชุมชนและเกษตรกรครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยและการจัดการวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรของเกษตรกรในแต่ละชุมชน โดยจะนำข้อมูลที่ได้ไปวิเคราะห์ศักยภาพและต้นทุนการบริหารจัดการเทคโนโลยีจัดการวัสดุเหลือใช้จากการเกษตรและขยะในชุมชน นำไปสู่การคัดเลือกแนวทาง องค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมที่จะนำไปใช้ในพื้นที่ให้เหมาะสม เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ในการพัฒนาองค์ความรู้และเพิ่มศักยภาพของเครือข่ายชุมชนและเกษตรกรในโครงการอาชีวศึกษา รวมถึงเกิดการพัฒนาเครือข่ายชุมชนและเกษตรกรนำร่องให้สามารถเป็นต้นแบบของการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมท้องถิ่นด้านการจัดการขยะและการจัดการวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรเพื่อลดการเผาอย่างยั่งยืน
ทั้งนี้จากการสัมภาษณ์เครือข่ายชุมชนและเกษตรกรทั้ง 5 ชุมชน ในสองจังหวัด พบว่าในเกษตรกรส่วนใหญ่ในชุมชน มีการเพาะปลูกข้าว ทำไร่มันสำปะหลัง และไร่อ้อย ตามลำดับ ส่งผลให้เกิดเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรตามมาได้แก่ ฟางข้าว เหง้ามันสำปะหลัง และเศษใบอ้อย ในขณะที่การจัดการขยะมูลฝอยในชุมชนพบว่าในชุมชนส่วนใหญ่มีการคัดแยกขยะ โดยการนำเศษอาหารไปทำปุ๋ย หรือนำไปเป็นอาหารสัตว์ในส่วนขยะรีไซเคิลไปขายจะถูกคัดแยกเพื่อนำไปขายให้กับร้านเก็บของเก่าที่เข้ามารับซื้อในพื้นที่ รวมถึงในชุมชนยังมีถังขยะอันตรายประจำหมู่บ้าน เพื่อให้คนในชุมชนนำมาทิ้งเพื่อให้ อบต. นำขยะอันตรายไปจัดการต่อ ทั้งนี้จึงต้องมีการส่งเสริมให้เกิดการจัดการขยะที่ต้นทาง เพื่อเป็นการลดขยะที่แหล่งกำเนิดและใช้ประโยชน์จากขยะมูลฝอยให้ได้สูงสุด นำไปสู่การลดปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นในชุมชนต่อไป
Share:
แชร์
Tweet
Tags:
การบริโภคที่ยั่งยืน
ขยะชุมชน
ขยะพลาสติก
ชุมชนน่าอยู่
ม.ส.ท.
สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย
สิ่งแวดล้อม
Share: