หน้าหลัก
รู้จัก ม.ส.ท.
ภาพรวม ม.ส.ท.
วิสัยทัศน์ | พันธกิจ
โครงสร้างองค์กร
คณะกรรมการมูลนิธิ
คณะกรรมการบริหารสถาบัน
คณะผู้บริหาร
เจ้าหน้าที่
วิถีเรา
สโลแกน
รายงานประจำปี | รายงานงบการเงิน
สำนักงานสีเขียว
รางวัลและเกียรติประวัติ
กองทุน
กองทุน ดร.ธีระ พันธุมวนิช
กองทุนสุขภาพกับสภาวะโลกร้อน
รู้จัก ม.ส.ท.
วิสัยทัศน์ | พันธกิจ
โครงสร้างองค์กร
คณะกรรมการมูลนิธิ
คณะกรรมการบริหารสถาบัน
คณะผู้บริหาร
เจ้าหน้าที่
วิถีเรา
สโลแกน
รายงานประจำปี | รายงานงบการเงิน
สำนักงานสีเขียว
รางวัลและเกียรติประวัติ
กองทุน
กองทุน ดร.ธีระ พันธุมวนิช
กองทุนสุขภาพกับสภาวะโลกร้อน
งานของเรา
กลุ่มงานของเรา
สิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม
อุตสาหกรรมยั่งยืน
มลพิษอุตสาหกรรม
สิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชน
ชุมชนและเมืองน่าอยู่
ขยะชุมชน-ขยะอาหาร
ขยะพลาสติก
ฝุ่น PM2.5
การผลิตและการบริโภคยั่งยืน
ฉลากเขียว
ฉลากสิ่งแวดล้อม
บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ที่ปรึกษาคาร์บอนฟุตพริ้นท์
จัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรทางบก
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
ความหลากหลายทางชีวภาพ
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
การลดก๊าซเรือนกระจก
การปรับตัว
การพัฒนาบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อม
งานฝึกอบรม
สิ่งแวดล้อมศึกษา
นโยบาย แผน เครือข่ายสิ่งแวดล้อม
นโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม
TBCSD
งานของเรา
สิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม
อุตสาหกรรมยั่งยืน
มลพิษอุตสาหกรรม
สิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชน
ชุมชนและเมืองน่าอยู่
ขยะชุมชน-ขยะอาหาร
ขยะพลาสติก
ฝุ่น PM2.5
การผลิตและการบริโภคยั่งยืน
ฉลากเขียว
ฉลากสิ่งแวดล้อม
บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ที่ปรึกษาคาร์บอนฟุตพริ้นท์
จัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรทางบก
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
ความหลากหลายทางชีวภาพ
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
การลดก๊าซเรือนกระจก
การปรับตัว
การพัฒนาบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อม
งานฝึกอบรม
สิ่งแวดล้อมศึกษา
นโยบาย แผน เครือข่ายสิ่งแวดล้อม
นโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม
TBCSD
คลังความรู้
แหล่งรวมความรู้
บทความ
อินโฟกราฟิก | โปสเตอร์
คลิปวิดีโอ
เอกสารเผยแพร่
สิ่งพิมพ์จำหน่าย
คลังความรู้
บทความ
อินโฟกราฟิก | โปสเตอร์
คลิปวิดีโอ
เอกสารเผยแพร่
สิ่งพิมพ์จำหน่าย
กิจกรรมข่าวสาร
ข่าวสารความเคลื่อนไหว
กิจกรรมของเรา
ข่าวสิ่งแวดล้อม
กิจกรรมข่าวสาร
กิจกรรมของเรา
ข่าวสิ่งแวดล้อม
ร่วมงานกับเรา
ร่วมเป็นส่วนหนึ่งกับเรา
งาน
ฝึกงาน
ร่วมงานกับเรา
งาน
ฝึกงาน
ติดต่อเรา
งานของเรา
ชุมชนและเมืองน่าอยู่
พื้นที่ชุ่มน้ำจังหวัดเชียงราย กับเรื่องราวดีดีที่ต้องใส่ใจกันมากขึ้น
กิจกรรม
...
พื้นที่ชุ่มน้ำจังหวัดเชียงราย กับเรื่องราวดีดีที่ต้องใส่ใจกันมากขึ้น
การทำงานของสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย (TEI) ภายใต้โครงการ URBAN ได้ทำการรวบรวมข้อมูลพื้นที่ชุ่มน้ำในจังหวัดเชียงราย ในช่วง 23-27 กรกฎาคม 2567 ที่ผ่านมา โดยคุณธนิรัตน์ ธนวัฒน์ และคณะนักวิจัย TEI
พบว่า จังหวัดเชียงรายมี “หนองบงคาย” เป็นพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระหว่างประเทศซึ่งขึ้นทะเบียนเป็นแรมซาร์ไซต์ (Ramsar site) และ “พื้นที่ชุ่มน้ำลุ่มน้ำอิงตอนล่าง” ที่อยู่ระหว่างการเสนอเป็นแรมซาร์ไซต์อีกแห่งหนึ่ง
นอกจากนี้ ยังมีพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับนานาชาติและระดับชาติอีก 5 แห่ง ได้แก่ หนองหลวง แอ่งเชียงแสน หนองฮ่าง แม่น้ำกก(จังหวัดเชียงราย) และแม่น้ำโขง(เหนือ) และพื้นที่ชุ่มน้ำในระดับท้องถิ่นอีกกว่า 600 แห่ง
คุณประโยชน์ที่จับต้องได้ของพื้นที่ชุ่มน้ำจังหวัดเชียงราย มีอย่างน้อย 9 ประการ ได้แก่
แหล่งน้ำเพื่อการเกษตรและการอุปโภค
แหล่งประมงของชุมชนโดยรอบ
แหล่งเลี้ยงควายแบบดั้งเดิม
แหล่งที่อยู่อาศัยของชนิดพันธุ์พืชและสัตว์
แหล่งนกอพยพ
แหล่งท่องเที่ยวชมธรรมชาติ
แหล่งประวัติศาสตร์ เช่น เวียงหนองหล่ม
แหล่งนันทนาการ สำหรับพักผ่อน ตกปลา ออกกำลังกาย
แหล่งรับน้ำในช่วงน้ำหลากและเก็บน้ำในช่วงหน้าแล้ง
ปัจจุบัน พื้นที่ชุ่มน้ำเหล่านี้ถูกเปลี่ยนแปลงจากการใช้ที่ดินโดยรอบ เป็นที่รองรับดินตะกอนทำให้แหล่งน้ำตื้นเขิน บางแห่งมีผักตบชวาและพืชน้ำอื่นเกือบเต็มพื้นที่ และหลายพื้นที่กำลังถูกขุดลอก โดยมุ่งเพิ่มการกักเก็บน้ำที่อาจมองข้ามคุณประโยชน์ด้านอื่น ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องจึงต้องหารือกันให้มากขึ้น เพื่อหาทางออกที่เหมาะสมร่วมกัน
Share:
แชร์
Tweet
Tags:
ม.ส.ท.
สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย
สิ่งแวดล้อม
Share: