หน้าหลัก
รู้จัก ม.ส.ท.
ภาพรวม ม.ส.ท.
วิสัยทัศน์ | พันธกิจ
โครงสร้างองค์กร
คณะกรรมการมูลนิธิ
คณะกรรมการบริหารสถาบัน
คณะผู้บริหาร
เจ้าหน้าที่
วิถีเรา
สโลแกน
รายงานประจำปี | รายงานงบการเงิน
สำนักงานสีเขียว
รางวัลและเกียรติประวัติ
กองทุน
กองทุน ดร.ธีระ พันธุมวนิช
กองทุนสุขภาพกับสภาวะโลกร้อน
รู้จัก ม.ส.ท.
วิสัยทัศน์ | พันธกิจ
โครงสร้างองค์กร
คณะกรรมการมูลนิธิ
คณะกรรมการบริหารสถาบัน
คณะผู้บริหาร
เจ้าหน้าที่
วิถีเรา
สโลแกน
รายงานประจำปี | รายงานงบการเงิน
สำนักงานสีเขียว
รางวัลและเกียรติประวัติ
กองทุน
กองทุน ดร.ธีระ พันธุมวนิช
กองทุนสุขภาพกับสภาวะโลกร้อน
งานของเรา
กลุ่มงานของเรา
สิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม
อุตสาหกรรมยั่งยืน
มลพิษอุตสาหกรรม
สิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชน
ชุมชนและเมืองน่าอยู่
ขยะชุมชน-ขยะอาหาร
ขยะพลาสติก
ฝุ่น PM2.5
การผลิตและการบริโภคยั่งยืน
ฉลากเขียว
ฉลากสิ่งแวดล้อม
บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ที่ปรึกษาคาร์บอนฟุตพริ้นท์
จัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรทางบก
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
ความหลากหลายทางชีวภาพ
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
การลดก๊าซเรือนกระจก
การปรับตัว
การพัฒนาบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อม
งานฝึกอบรม
สิ่งแวดล้อมศึกษา
นโยบาย แผน เครือข่ายสิ่งแวดล้อม
นโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม
TBCSD
งานของเรา
สิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม
อุตสาหกรรมยั่งยืน
มลพิษอุตสาหกรรม
สิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชน
ชุมชนและเมืองน่าอยู่
ขยะชุมชน-ขยะอาหาร
ขยะพลาสติก
ฝุ่น PM2.5
การผลิตและการบริโภคยั่งยืน
ฉลากเขียว
ฉลากสิ่งแวดล้อม
บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ที่ปรึกษาคาร์บอนฟุตพริ้นท์
จัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรทางบก
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
ความหลากหลายทางชีวภาพ
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
การลดก๊าซเรือนกระจก
การปรับตัว
การพัฒนาบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อม
งานฝึกอบรม
สิ่งแวดล้อมศึกษา
นโยบาย แผน เครือข่ายสิ่งแวดล้อม
นโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม
TBCSD
คลังความรู้
แหล่งรวมความรู้
บทความ
อินโฟกราฟิก | โปสเตอร์
คลิปวิดีโอ
เอกสารเผยแพร่
สิ่งพิมพ์จำหน่าย
คลังความรู้
บทความ
อินโฟกราฟิก | โปสเตอร์
คลิปวิดีโอ
เอกสารเผยแพร่
สิ่งพิมพ์จำหน่าย
กิจกรรมข่าวสาร
ข่าวสารความเคลื่อนไหว
กิจกรรมของเรา
ข่าวสิ่งแวดล้อม
กิจกรรมข่าวสาร
กิจกรรมของเรา
ข่าวสิ่งแวดล้อม
ร่วมงานกับเรา
ร่วมเป็นส่วนหนึ่งกับเรา
งาน
ฝึกงาน
ร่วมงานกับเรา
งาน
ฝึกงาน
ติดต่อเรา
งานของเรา
ขยะพลาสติก
บรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมที่สุด .. คือ ข้อคิดเห็นร่วมกันต่อการพัฒนาแนวทางการใช้บรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของภาคส่วนต่าง ๆ จากเวทีสาธารณะ
กิจกรรม
...
บรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมที่สุด .. คือ ข้อคิดเห็นร่วมกันต่อการพัฒนาแนวทางการใช้บรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของภาคส่วนต่าง ๆ จากเวทีสาธารณะ
2 มีนาคม 2566 โครงการขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 14 มติ 14.1 การเสริมสร้างสุขภาวะสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืนในวิกฤติโควิด-19: การจัดการขยะติดเชื้อชุมชนและบรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ระยะที่ 1 จัดเวทีสาธารณะเพื่อรับฟังความคิดเห็นต่อการพัฒนาแนวทางการใช้บรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ณ โรงแรมแกรนด์ริชมอนด์ นนทบุรี เพื่อทดแทนและลดการใช้พลาสติกแบบใช้ครั้งเดียว โดยได้รับเกียรติจาก ดร.วิจารย์ สิมาฉายา ผู้อำนวยการสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย กล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมประชุม นางสาวสิริกร เค้าภูไทย ผู้เชี่ยวชาญ สำนักพัฒนาและขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะระดับชาติ ผู้แทนจากสำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) กล่าวเปิดการประชุม โดยทีมวิจัยสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย นำเสนอภาพรวมการดำเนินงานโครงการฯ รวมถึงผลการสำรวจและผลการสัมภาษณ์ ผู้ประกอบการ ผู้บริโภค และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อการจัดการพลาสติกเพื่อวิเคราะห์ศักยภาพการดำเนินงานและจัดทำเล่มแนวทางฯ ดังกล่าว
ภายในงานได้จัดช่วงเสวนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็น “บรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมทางเลือกเพื่อทดแทนและลดการใช้พลาสติกแบบใช้ครั้งเดียว” โดยมี คุณประลอง ดำรงค์ไทย ผู้แทนจากมูลนิธิการจัดการทรัพยากรอย่างยั่งยืน, คุณสุธิศา พรเพิ่มพูน ผู้อำนวยการสำนักงานจัดการมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพมหานคร, คุณคงศักดิ์ ดอกบัว ผู้อำนวยการฝ่ายข้อมูลและวิจัยอุตสาหกรรมพลาสติก สถาบันพลาสติก, คุณณัฏฐิณี เนตรอำไพ ที่ปรึกษาอาวุโสส่วนองค์กรสัมพันธ์ บริษัท ยูนิลีเวอร์ ไทย เทรดดิ้ง จำกัด และ ดร.พิรียุตม์ วรรณพฤกษ์ ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมประจำโครงการฯ ให้เกียรติเป็นผู้ดำเนินการเสวนาที่ประชุมได้ให้ข้อคิดเห็นต่อการจัดทำแนวทางการใช้บรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ในประเด็นต่าง ๆ ได้แก่
บรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมที่ดีที่สุด คือการไม่ใช้บรรจุภัณฑ์ ควรให้ระดับความสำคัญของความเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม สอดคล้องกับลำดับชั้นของการจัดการขยะ คือ ให้ลดการใช้ ใช้ซ้ำ นำกลับมาใช้ใหม่ได้ เปลี่ยนรูปเป็นพลังงานรวมถึงการหมักทำปุ๋ย ก่อนกำจัดทิ้งขั้นสุดท้าย
กำหนดตราสัญลักษณ์บนภาชนะและบรรจุภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่มจะช่วยให้เกิดการจัดการปลายทางที่เหมาะสม โดยประชาชนอาจคัดแยกแค่ขยะเปียก (อินทรีย์) กับขยะแห้ง (ทั่วไป+รีไซเคิลได้)
ภาชนะและบรรจุภัณฑ์ที่ผลิตจากพลาสติกชีวภาพยังมีข้อจำกัด ต้องสื่อสารให้ประชาชนได้รับรู้อย่างถูกต้องว่าใช้กับสินค้าชนิดใดได้บ้าง และต้องคำนึงความปลอดภัยต่อสุขภาพเป็นอันดับแรก
ทั้งนี้ ทีมวิจัยจะนำข้อแนะนำไปพัฒนาแนวทางการใช้บรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อส่งเสริมสร้างความตระหนักในภาคประชาชน และจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายส่งต่อให้กับหน่วยงานภาครัฐที่ต้องนำไปใช้ต่อไป
Share:
แชร์
Tweet
Tags:
ขยะพลาสติก
Share: