หน้าหลัก
รู้จัก ม.ส.ท.
ภาพรวม ม.ส.ท.
วิสัยทัศน์ | พันธกิจ
โครงสร้างองค์กร
คณะกรรมการมูลนิธิ
คณะกรรมการบริหารสถาบัน
คณะผู้บริหาร
เจ้าหน้าที่
วิถีเรา
สโลแกน
รายงานประจำปี | รายงานงบการเงิน
สำนักงานสีเขียว
รางวัลและเกียรติประวัติ
กองทุน
กองทุน ดร.ธีระ พันธุมวนิช
กองทุนสุขภาพกับสภาวะโลกร้อน
รู้จัก ม.ส.ท.
วิสัยทัศน์ | พันธกิจ
โครงสร้างองค์กร
คณะกรรมการมูลนิธิ
คณะกรรมการบริหารสถาบัน
คณะผู้บริหาร
เจ้าหน้าที่
วิถีเรา
สโลแกน
รายงานประจำปี | รายงานงบการเงิน
สำนักงานสีเขียว
รางวัลและเกียรติประวัติ
กองทุน
กองทุน ดร.ธีระ พันธุมวนิช
กองทุนสุขภาพกับสภาวะโลกร้อน
งานของเรา
กลุ่มงานของเรา
สิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม
อุตสาหกรรมยั่งยืน
มลพิษอุตสาหกรรม
สิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชน
ชุมชนและเมืองน่าอยู่
ขยะชุมชน-ขยะอาหาร
ขยะพลาสติก
ฝุ่น PM2.5
การผลิตและการบริโภคยั่งยืน
ฉลากเขียว
ฉลากสิ่งแวดล้อม
บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ที่ปรึกษาคาร์บอนฟุตพริ้นท์
จัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรทางบก
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
ความหลากหลายทางชีวภาพ
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
การลดก๊าซเรือนกระจก
การปรับตัว
การพัฒนาบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อม
งานฝึกอบรม
สิ่งแวดล้อมศึกษา
นโยบาย แผน เครือข่ายสิ่งแวดล้อม
นโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม
TBCSD
งานของเรา
สิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม
อุตสาหกรรมยั่งยืน
มลพิษอุตสาหกรรม
สิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชน
ชุมชนและเมืองน่าอยู่
ขยะชุมชน-ขยะอาหาร
ขยะพลาสติก
ฝุ่น PM2.5
การผลิตและการบริโภคยั่งยืน
ฉลากเขียว
ฉลากสิ่งแวดล้อม
บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ที่ปรึกษาคาร์บอนฟุตพริ้นท์
จัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรทางบก
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
ความหลากหลายทางชีวภาพ
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
การลดก๊าซเรือนกระจก
การปรับตัว
การพัฒนาบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อม
งานฝึกอบรม
สิ่งแวดล้อมศึกษา
นโยบาย แผน เครือข่ายสิ่งแวดล้อม
นโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม
TBCSD
คลังความรู้
แหล่งรวมความรู้
บทความ
อินโฟกราฟิก | โปสเตอร์
คลิปวิดีโอ
เอกสารเผยแพร่
สิ่งพิมพ์จำหน่าย
คลังความรู้
บทความ
อินโฟกราฟิก | โปสเตอร์
คลิปวิดีโอ
เอกสารเผยแพร่
สิ่งพิมพ์จำหน่าย
กิจกรรมข่าวสาร
ข่าวสารความเคลื่อนไหว
กิจกรรมของเรา
ข่าวสิ่งแวดล้อม
กิจกรรมข่าวสาร
กิจกรรมของเรา
ข่าวสิ่งแวดล้อม
ร่วมงานกับเรา
ร่วมเป็นส่วนหนึ่งกับเรา
งาน
ฝึกงาน
ร่วมงานกับเรา
งาน
ฝึกงาน
ติดต่อเรา
กิจกรรมข่าวสาร
ข่าวสิ่งแวดล้อม
...
การจัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนของมหานคร: แนวทางและความท้าทายของกรุงเทพมหานครภายใต้สภาวะวิกฤตโลกเดือด
30 สิงหาคม 2567 ดร. วิจารย์ สิมาฉายา ผู้อำนวยการสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย เป็นวิทยากรบรรยายหัวข้อ การจัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนของมหานคร ให้แก่ผู้เข่าร่วมการอบรมหลักสูตร ผู้บริหารระดับสูงด้านการพัฒนามหานคร (มหานครรุ่น 12) มหาวิทยานวมินทราธิราช ณ โรงแรมโกลเด้น ทิวลิป ซอฟฟาริน กรุงเทพมหานคร
ในการบรรยายครั้งนี้ ดร.วิจารย์ ได้แสดงให้เห็นเกี่ยวกับสถานการณ์สิ่งแวดล้อมโลก ปัจจุบันเราใช้ทรัพยากรโลกเกินขีดความสามารถที่โลกจะสามารถสร้างทรัพยากรไปมากกว่า 1.7 เท่า ซึ่งส่งผลให้เกิดความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพซึ่งสร้างผลกระทบรุนแรงกว่าวิกฤตโควิด-19 ที่ผ่านมาอย่างมาก นอกจากนี้โลกเรากำลังเผชิญ 13 หายนะที่จะทำลายความยั่งยืน ทั้งภาวะโลกเดือดจากการใช้ เชื้อเพลิง Fossil การขาดธรรมาภิบาลด้านสิ่งแวดล้อม การสูญเสียความหลากหลาย ทางชีวภาพ ขยะพลาสติกล้นโลก ขยะอาหารเหลือทิ้ง Food Waste การสูญเสียพื้นที่ป่า อากาศเป็นพิษและฝุ่นควัน เป็นต้น ในขณะเดียวกันปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศยังคงวิกฤต โดย UN ได้ประกาศให้โลกเข้าสู๋สภาวะโลกเดือด อุณหภูมิเฉลี่ยทั่วโลกในปี 2024 อยู่ที่ 1.2 ± 0.1 °C สูงกว่าระดับก่อนยุค อุตสาหกรรมอย่างมากส่งผลให้ขอบเขตน้ำแข็งขั้วโลกเหนือหายไป 13% ทุกทศวรรษ ระดับน้ำทะเลที่สูงขึ้น 3.4มิลลิเมตร/ปี หรือกระทั่ง แผ่นน้ำแข็งขั้วโลกละลาย427ล้านตันต่อปี ผลกระทบเหล่านี้ส่งผลให้หลายประเทศเกิดความเสี่ยงด้านภูมิอากาศ โดยเฉพาะประเทศไทยซึ่งปล่อยก๊าซเรือนกระจกเป็นอันดับที่ 20 ของโลก แต่กลับได้รับผลกระทบมากเป็นอันดับ 9 ของโลก ในขณะที่ปัญหาสิ่งแวดล้อมเมืองในกรุงเทพมหานครก็รุนแรงเช่นเดียวกัน จากข้อมูลแบบสอบถามความคิดเหน็ต่อปัญหาด้าน สิ่งแวดล้อมในกรุงเทพฯ พบว่าคนกรุงเทพมีความกังวล และต้องการให้แก้ไขปัญหามลพิษอากาศมากที่สุด รองลงมาคือ ปัญหาขยะ ปัญหาพื้นที่สีเขียว ปัญหาน้ำท่วม ตามลำดับ โดยในช่วงที่ผ่านมาสถานการณ์มลพิษอากาศมนกรุงเทพทวีความรุนแรงขึ้นจึงต้องมีมาตรากรต่าง เช่น การมีแผนบริหารจัดการฝุ่นละอองในระยะวิกฤต การขยายระบบติดตามแจ้งเตือนฝุ่นระดับแขวง 1000 จุด การดำเนินโครงการรถคันนี้ลดฝุ่น รวมทั้งการพัฒนาแอปพิเคชั่น AirBKK เพื่อแจ้งเตือนสถานการณ์การมลพิษอากาศแก่คนกรุงเทพอย่างใกล้ชิด ในขณะเดียวกันปัญหาขยะล้นเมืองของกรุงเทพก็เป็นปัญหาเร่งด่วนเช่นกัน แม้แนวโน้มปริมาณขยะมูลฝอยจะมีแนวโน้มลดลงอย่างชัดเจน แต่ขยะอันตราย หรือขยะในคูคลองยังคงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ซึ่งจำเป็นต้องมีมาตรการเพื่อแก้ปัญหานี้ เช่น โครงการมือวิเศษเพื่อชวนคนกรุงเทพแยกขยะพลาสติก การร่วมมือเอกชนเพิ่มจุดทิ้งขยะอิเล็กทรอนิกส์ หรือการใช้เรืออัจฉริยะพลังงานแสงอาทิตย์ช่วยเก็บขยะในแม่น้ำลำคลอง โดยสิ่งที่สำคัญที่จะช่วยแก้ปัญหาขยะล้นเมืองคือ การประยุกต์หลัก BCG model เพื่อช่วยให้สามารถใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าที่สุด กระตุ้นการหมุนเวียนผ่านการออกแบบผลิตภัณฑ์ให้สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ ซ่อมแซม หรือรีไซเคิลได้ ลดความต้องการในการสร้างของใหม่และลดปริมาณขยะที่ถูกทิ้งในสิ่งแวดล้อม รวมทั้งใช้พลังงานสะอาดและเทคโนโลยีสีเขียวในการผลิตและดำเนินธุรกิจ ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและลดการสร้างขยะ ในขณะที่ปัญหาการขาดแคลนพื้นที่สีเขียวของคนกรุงเทพก็น่าเป็นหาวงเช่นกัน เนื่องจากปัจจุบันคนกรุงเทพมีพื้นที่สีเขียวเพียง 7.08 ตร.ม ต่อ คน ซึ่งน้อยกว่ามาตรฐานของ WHO ที่กำหนดให้มีพื้นที่สีเขียว 9 ตร.ม. ต่อ คน ดังนั้น กทม. จึงตั้งเป้าเพิ่มพื้นที่สีเขียวให้คนกรุงฯ 10 ตารางเมตรตอ่คน ภายใต้โครงการ Green Bangkok 2030 นอกจากนี้ยังส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการเพิ่มพื้นที่สีเขียวในเมือง ผ่านกิจกรรมปลูกต้นไม้ในนวันสำคัญทางศาสนา และวันสำคัญต่าง ๆ
การอบรมหลักสูตร ผู้บริหารระดับสูงด้านการพัฒนามหานคร มีวัตถุประสงค์ในการสร้างทัศนคติ ความรู้ ความเข้าใจด้านการพัฒนาและบริหารจัดการมหานคร เปิดโอกาสให้บุคลากรจากทุกภาคส่วนของสังคม ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชนและองค์กรรูปแบบต่าง ๆ แลกเปลี่ยนเรียนรู้และเสนอแนะ ในมิติที่สามารถนำไปแก้ปัญหาหรือพัฒนาเมืองและมหานครได้ตลอดจนสร้างความรู้ ความเข้าใจแก่ผู้บริหารระดับสูงทั้งภาครัฐและเอกชนในกระบวนการบริหารเมืองของกรุงเทพมหานคร
Share:
แชร์
Tweet
Tags:
การบริโภคที่ยั่งยืน
การปรับตัว
การปรับตัวของเมือง
การปรับตัวบนฐานระบบนิเวศ
การผลิตที่ยั่งยืน
การผลิตและการบริโภคที่ยั่งยืน
การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ขยะชุมชน
ขยะพลาสติก
ขยะอันตราย
ขยะอาหาร
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ชุมชนน่าอยู่
ป่าไม้
ม.ส.ท.
สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย
สิ่งแวดล้อม
เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
เมืองน่าอยู่
แผนสิ่งแวดล้อม
โลก
โลกร้อน
Share: